การใช้เงิน ขอตั้งกองทุนสวัสดิการ SME ปลดล็อก 2.1 ล้านธุรกิจพ้นบ่วงหนี้ NPL

การใช้เงิน  การใช้จ่ายเงิน  วางแผนการใช้เงิน  การใช้เงินอย่างฉลาด  การใช้เงินคือ  การใช้เงินให้เกิดประโยชน์  การวางแผนการใช้เงินในชีวิต ประ จํา วัน  การใช้เงินอย่างประหยัด  ใช้เงินเป็น คือ

ฐากร" ส่งไม้ต่อ "ณญาณี" นำทัพ "กรุงศรี คอนซูมเมอร์" มีผล ก.ย. นี้

 

การใช้เงิน  สมาพันธ์เอสเอ็มอีไทยวอนรัฐกู้ชีพรายย่อย 2.1 ล้านราย ติด NPL ชง “แก้หนี้วาระแห่งชาติ” ด้วย 7 ข้อเสนอสำคัญ ย้ำอย่ามองแต่ New S-Curve แต่ให้หันไปสู่ BCG หวังปลดล็อกเงื่อนไขการใช้เงินกองทุน ลุ้นรัฐตั้งกองทุนสวัสดิการ 10,000 ล้าน เป็นของขวัญปีใหม่พิจารณารับเรื่อง “แก้หนี้เป็นวาระแห่งชาติ” หลังจากที่สมาพันธ์ได้มีการระดมความเห็นนายแสงชัย ธีรกุลวาณิช ประธานสมาพันธ์เอสเอ็มอีไทย กล่าวว่า ขณะนี้เตรียมเสนอ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ให้ต่าง ๆ ทั้งด้านสุขภาพและความช่วยเหลืด้านอื่นตามสวัสดิการของประกันสังคมทั้งนี้ยังให้กองทุนฯดังกล่าวมีรูปแบบบริหารที่ออกแบบเองได้เหมาะสมกับธุรกิจ SMEs”ส่วนกองทุนตามแนวทางประชารัฐที่อยู่ภายใต้การบริหารจัดการ กระทรวงอุตสาหกรรม ซึ่งตั้งขึ้นเพื่อสนับสนุนไปยังอุตสาหกรรมเป้าหมาย (S-curve) พูดถึงอุตสาหกรรมหุ่นยนต์ การบิน หรือแม้แต่ยานยนต์ไฟฟ้า (EV) เหล่านี้ SMEs เข้าถึงยาก การใช้จ่ายเงินเนื่องจากศักยภาพบวกกับเงื่อนไขกฎเกณฑ์ที่จะปล่อยเงินกู้หรือสินเชื่อให้กับเฉพาะ SMEs ที่เป็นนิติบุคคล โดยอิงจากทุนจดทะเบียนเท่านั้น เป็นการเปิดช่อง SMEs รายใหญ่สามารถเข้ามาใช้เงินกองทุนฯนี้ได้ จึงไม่ได้ตอบสนองหรือช่วย SMEs อย่างแท้จริงวางแผนการใช้เงิน

ถอดประสบการณ์ 'ฐากร ปิยะพันธ์' 8 ปี 'ซีอีโอ' กรุงศรี คอนซูมเมอร์

การใช้จ่ายเงิน

สมาชิก ผู้ประกอบวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) พบว่าในช่วงหลายปีที่ผ่านมาเกิดปัญหาวิกฤตโควิด-19 ส่งผลให้ธุรกิจ SMEs ประสบปัญหาผิดนัดชำระหนี้จนกลายเป็นหนี้เสีย (NPL) มากถึง 2.6 ล้านบัญชี หรือ 2.1 ล้านรายและหากพิจารณาตามกฎเกณฑ์ของสถาบันการเงิน SMEs กลุ่มนี้จะ “ติดล็อก”การใช้เงินอย่างฉลาด เครดิตบูโร ประสบปัญหาการเข้าถึงแหล่งเงินทุนถึง 70% ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ เพราะในปัจจุบัน SMEs มีสัดส่วนการขับเคลื่อน GDP ถึง 35%การใช้เงินคือ

ฐากร ปิยะพันธ์ ความน่ากลัวที่ซ่อนอยู่ในวิกฤตโควิด-19 ที่จะทำให้โลกการเงินไม่เหมือนเดิม | THE MOMENTUM

วางแผนการใช้เงิน

มูลค่า 5.5 ล้านล้านบาท จึงเตรียมนำข้อเสนอและแนวทางยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขัน SMEs ให้รัฐบาลพิจารณาเป็นเรื่องเร่งด่วน 7 ด้าน“SMEs เปรียบเสมือนเส้นเลือดฝอยของระบบเศรษฐกิจ หลาย ๆ ธุรกิจเคยมีรายได้เป็นกอบเป็นกำ แต่ต้องประสบปัญหาช่วงโควิด-19 เมื่อไม่มีรายได้จากที่เคยเป็นลูกหนี้ชั้นดีมาตลอด ผิดนัดชำระหนี้เพียงไม่กี่ครั้ง ก็ต้องกลายเป็นหนี้เสีย (NPL) ไปเลยทันที ทั้งที่ตลอดหลาย ๆ ปีเขาไม่เคยผิดนัดชำระหนี้ ดังนั้นจะถูกขึ้นบัญชีเครดิตบูโร ทางธนาคารการใช้เงินให้เกิดประโยชน์

Exclusive Interview : ฐากร ปิยะพันธ์กับบทบาทครั้งสำคัญนำทีมธนาคารกรุงศรีมุ่งสู่ยุค Digital Banking และ Innovation | Techsauce

การใช้เงินอย่างฉลาด

แห่งประเทศไทย (ธปท.) และสถาบันการเงินจำเป็นจะต้องช่วยพวกเขา หาแนวทางแก้ไข ไม่ควรใช้วิธีปรับโครงสร้างหนี้เพียงอย่างเดียว แต่ควรปรับกฎเกณฑ์ใหม่ จำเป็นต้องดูประวัติย้อนหลัง เช่น 1 ปีที่ผ่านมาหรือ 3 ปีที่ผ่านมา เมื่อไม่เคยผิดนัดชำระหนี้เลยควรต้องผ่อนผันให้ไม่ใช้เกณฑ์เดียวกันกับผู้ผิดนัดชำระหนี้แบบรายอื่นเหมารวมทั้งหมด เพราะการใช้วิธีนี้จะทำให้ SMEs ไม่สามารถเข้าถึงแหล่งเงินทุนและในท้ายที่สุดเขาก็ต้องปิดกิจการ ไม่สามารถทำธุรกิจต่อไปได้”การวางแผนการใช้เงินในชีวิต ประ จํา วัน

SMEs ตื่นตัว ปรึกษาแก้หนี้ บสย. เร่งชวน SMEs ลงทะเบียน Line TCG First

การใช้เงินคือ

สำหรับ 7 ข้อเสนอเร่งด่วน ประกอบด้วย 1) ให้กำหนดการแก้หนี้เป็นวาระแห่งชาติ 2) ดึงกองทุนตามแนวประชารัฐ (20,000 ล้านบาท) ออกจากกระทรวงอุตสาหกรรมและปรับเกณฑ์ใหม่ให้มุ่งสู่ BCG ไม่ใช่ S-curve 3) ยกเลิกการตรวจสอบเครดิตบูโรและให้ SMEs สามารถเข้าถึงแหล่งทุน ควบคู่ไปกับการยกระดับขีดความสามารถแรงงานหรือสร้างเครดิตการค้า ซึ่งสามารถนำไปยื่นประกอบการขอสินเชื่อให้สถาบันการเงินพิจารณา (Credit Scoring) ได้ 4) กระจายอำนาจด้านพลังงาน โดยปรับโครงสร้างพลังงานสีเขียว ใช้การใช้เงินอย่างประหยัด

ลูกหนี้เฮ! ธปท.ขยายเวลาร่วมมหกรรม 'แก้หนี้ออนไลน์' ถึง 31 ม.ค.66-เพิ่มประเภทสินเชื่อ | MATICHON ONLINE | LINE TODAY

การใช้เงินให้เกิดประโยชน์

พลังงานหมุนเวียนเป็นเชื้อเพลิงหลัก 75% และฟอสซิลเหลือ 25% เป็นการลดต้นทุนในระยะยาว 5) ปรับมาตรการคนละครึ่ง ให้เฉพาะกลุ่มเป้าหมายที่มีรายได้น้อยเท่านั้น 6) ให้ลดเครดิตเทอมเหลือ 15-30 วัน จาก 60-90 วัน และ 7) จัดตั้งกองทุนสวัสดิการเอสเอ็มอีไทย“ในการหารือสมาชิกเสนอให้รัฐตั้งกองทุนสวัสดิการ SMEs ไทย วงเงิน 10,000 ล้านบาท ซึ่งจะเป็นรูปแบบให้ผู้ประกอบการ SMEs ตามมาตรา 40 (ม.40) ซึ่งมีอยู่ประมาณ 10.7 ล้านคน เป็นของขวัญ โดยจะส่งเงินเข้ากองทุนเพื่อออม ขณะเดียวกันก็ได้รับสวัสดิการดังนั้นสมาพันธ์เห็นว่า กองทุนตามแนวทางประชารัฐต้องดึงออกจากกระทรวงอุตสาหกรรมและปรับกฎเกณฑ์ใหม่จาก S-curve เป็น BCG หรือเศรษฐกิจชีวภาพ-เศรษฐกิจหมุนเวียน-เศรษฐกิจสีเขียว (Bio-Circular-Green Economy) ให้รายย่อยใช้มากขึ้น เป็นซัพพลายเชนกับรายใหญ่ มีการจับคู่ธุรกิจ ควบคู่ไปกับการให้ธนาคารลดเกณฑ์ลง แต่ยังคงเป้าหมายเพื่อการพัฒนาและฟื้นฟูไว้เช่นเดิม ปรับโครงสร้างการบริหาร ลดสัดส่วนราชการ เพิ่มสัดส่วนองค์กรภาคเอกชนให้มีบทบาทมากขึ้น และใช้กลไกของสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (BOI) ดึงเอา พ.ร.บ.เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศหรือกองทุน 10,000 ล้านบาทมาใช้ประโยชน์ ใช้เงินเป็น คือ โดยหลังจากยื่นข้อเสนอนี้แล้วทางสมาพันธ์จะจัดงาน STEP 4 ระหว่างวันที่ 15-17 ธ.ค. 2565 เป็นช่องทางสื่อไปถึงภาครัฐโดยตรง  การใช้เงิน

 

เครติด.prachachat

 

ข่าวแนนำ